
ศ.ดร.เมชฌ เมธจิรนนท์
Prof. Metcha Metjiranont ,Ph.D
-
Orcid
- -
Scopus
-
ตำแหน่ง:
ประธานหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาจีนและการสื่อสาร
ตำแหน่งทางวิชาการ:
ศาสตราจารย์
Professor
Professor
สังกัด:
ภาษาจีนและการสื่อสาร
โทรศัพท์:
3750
email:
ห้องทำงาน:
LA 402/1
Homepage:
ปริญญาเอก
2548
Doctor of Philosophy (Chinese Linguistics and Philology) , Nanjing Normal University, China
ปริญญาโท
2541
ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (ภาษาศาสตร์), มหาวิทยาลัยมหิดล
ปริญญาตรี
2538
ศิลปศาสตรบัณฑิต (ดนตรีไทย), มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ประกาศนียบัตร
Certificate in Chinese Language, International College, Nanjing Normal University, China
Certificate of Training program for teachers of Chinese as a foreign language, Xiamen University, China
Certificate of Training program for teachers of Chinese as a foreign language, Beijing language University, China
ชื่อนักศึกษา
ชื่อเรื่อง IS/THESIS
ข้อมูล | เรื่อง |
---|---|
ปีงบ : 2561 แหล่งทุน : รายได้คณะ สัดส่วน : 100% | การศึกษาภาษาศาสตร์แขนงจ้วง-ไตกลุ่มภาษาพบใหม่ในประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน |
ปีงบ : 2559 แหล่งทุน : - สัดส่วน : 100% | การศึกษาภาษาศาสตร์แขนงตัง(กัม)-สุย ในประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน |
ปีงบ : 2558 แหล่งทุน : - สัดส่วน : 100% | การศึกษาภาษาศาสตร์แขนงจ้วง-ไต ในประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน |
ปีงบ : 2557 แหล่งทุน : - สัดส่วน : 100% | การศึกษาภาษาตระกูลมอญ เขมรในประเทศสาธารรัฐประชาชนจีน |
ข้อมูล | เรื่อง |
---|---|
ปีงบ : 2566 สถานที่ : Guangxi Normal University วันที่นำเสนอ : 2566-06-17 | ได้รับเชิญเป็นองค์ปาฐกถานำการประชุมวิชาการระดับนานาชาติ Keynote speaker : Chinese -Thai cognates in The Northeast Thai dialect and it s effect on Thai Chinese teaching [2566] |
ปีงบ : 2558 สถานที่ : University Paris Diderot - Paris 7 นำเสนอโดยผู้แทน วันที่นำเสนอ : 04-06-2558 | A Comparative Analysis of Chinese and Thai Grammar's Reverse-Sequence Structures and Its Teaching Approach [2558] |
ปีงบ : 2557 สถานที่ : INTERNATIONAL CONFERENCE ON.Sofitel So Hotel Bangkok. 2 North Sathorn Road,By College of Religious Studies, Mahidol University.Thailand Achievement Institute, and Thai-Turkish Business Association วันที่นำเสนอ : 28-08-2557 | เมชฌ สอดสองกฤษ.(2557) Reflections on Hospitality in Chinese Culture and its Revival. ใน การประชุมวิชาการระดับนานาชาติเรื่อง “Hospitality in Anatolian and Asian Culture” จัดโดย วิทยาลัยศาสนศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล และ Thailand Achievement Institute ณ โรงแรมโซฟิเทล โซ แบ็งค็อก วันที่ 28 – 29 เมษายน 2557. [2557] |
ปีงบ : 2557 สถานที่ : การประชุมวิชาการระดับชาติ มนุษย์-สังคมศาสตร์ครั้งที่ 8 ม.ราชภัฏอุบลราชธานี วันที่นำเสนอ : 08-08-2557 | เมชฌ สอดสองกฤษ.(2557) ภาษาตระกูลมอญ-เขมรในประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน. นำเสนอใน การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง วัฒนธรรมลุ่มน้ำโขง กินอยู่ ร้อง รำ ธรรม เพลง จัดโดยมนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์ . มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี .วันที่ 8 สิงหาคม 2557. ณ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี [2557] |
ปีงบ : 2557 สถานที่ : การประชุมวิชาการระดับนานาชาติ ที่ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย จัดโดย มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และ Nanjing Normal University วันที่นำเสนอ : 04-06-2557 | เมชฌ สอดสองกฤษ.(2557) รายงานการวิจัยเรื่อง การทดลองใช้คำศัพท์พ้องเสียงภาษาไทย-จีนสอนภาษาจีนให้ผู้เรียนชาวไทย.ใน การประชุมทางวิชาการ จีนศึกษาระดับนานาชาติ ครั้งที่ 2 เรื่อง "ไข่มุกหล่นบนจานหยก การศึกษาภาษา การสอน และวรรณกรรมจีน" จัดโดยคณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ร่วมกับ โครงการปริญญาโท หลักสูตรวัฒนธรรมจีนศึกษา คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และ International College Nanjing Normal University. วันที่ 4 – 5 มิถุนายน 2557. [2557] |
ปีงบ : 2557 สถานที่ : การประชุมวิชาการระดับชาติ ม.อบ. วิจัย วันที่นำเสนอ : 17-07-2557 | เมชฌ สอดสองกฤษ.(2557) แนวทางการบูรณาการข้อมูลท้องถิ่นสู่งานงานบริการวิชาการ ทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมงานวิจัย การเรียนการสอนและผลงาน สร้างสรรค์.การประชุมวิชาการ ม.อบ.วิจัย ครั้งที่ 8 เรื่อง การพัฒนาท้องถิ่นสู่ภูมิภาคอาเซียน: บทบาทของมหาวิทยาลัยเพื่อรับใช้สังคม ระหว่างวันที่ 17-18 กรกฎาคม 2557 ณ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. (ได้รับรางวัลการนำเสนอภาคบรรยายยอดเยี่ยม สาขามนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์) [2557] |
ปีงบ : 2556 สถานที่ : สถาบันเอเชียศึกษา The University of Melbourne ประเทศออสเตรเลีย ระหว่างวันที่ 24 – 25 สิงหาคม 2556 วันที่นำเสนอ : 24-08-2556 | On the function of the correlation words in Thai and Chinese language teaching classes [2556] |
ปีงบ : 2556 สถานที่ : มหาวิทยาลัยภาษาต่างประเทศเมืองฮานอย ประเทศเวียดนาม. วันที่นำเสนอ : 13-10-2556 | เมชฌ สอดส่องกฤษ. (2555) การสำรวจธุรกิจการค้าของชาวไทยเชื้อสายจีนในจังหวัดอุบลราชธานี ประเทศไทย.นำเสนอในการประชุมวิชาการนานาชาติประจำปีของสมาคมการสอนภาษาจีนแห่งเอเชียแปซิฟิก.13-15 ตุลาคม 2555 ณ มหาวิทยาลัยภาษาต่างประเทศเมืองฮานอย ประเทศเวียดนาม. [2556] |
ปีงบ : 2556 สถานที่ : มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ประเทศไทย วันที่นำเสนอ : 03-05-2555 | เมชฌ สอดส่องกฤษ. (2555) ข้อสังเกตเกี่ยวกับความสัมพันธ์ของเสียงพ่นลมในภาษาไทยมาตรฐานและเสียงไม่พ่นลมในภาษาไทยถิ่นเหนือกับคำใน ภาษาจีน. นำเสนอใน การประชุมทางวิชาการจีนศึกษาระดับนานาชาติ ครั้งที่ 1 เรื่อง " จีนภิวัฒน์ในมิติภาษา วรรณกรรม การสอน และวัฒนธรรม ศึกษา " จัดโดยคณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ร่วมกับ โครงการปริญญาโท หลักสูตรวัฒนธรรมจีนศึกษา คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และ International College Nanjing Normal University วันที่ 3-4 พฤษภาคม 2555 [2556] |
ปีงบ : 2556 สถานที่ : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตอุบลราชธานี. วันที่นำเสนอ : 30-12-2555 | เมชฌ สอดส่องกฤษ. (2555) ศาลเจ้าจีนในเขตจังหวัดของภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่างของไทย. นำเสนอในการประชุมวิชาการระดับนานาชาติเนื่อง ในวันสถาปนาครบรอบ 25 ปี วันที่ 29 – 30 ธันวาคม 2555 ณ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตอุบลราชธานี. [2556] |
ปีงบ : 2555 สถานที่ : มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย วันที่นำเสนอ : 04-05-2555 | ข้อสังเกตเรื่องความสัมพันธ์ของเสียงพ่นลมในภาษาไทยมาตรฐานกับเสียงไม่่พ่นลมในภาษาไทยถิ่นเหนือกับคำในภาษาจีน [2555] |
ปีงบ : 2554 สถานที่ : การประชุมวิชาการระดับชาติ มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ครั้งที่ 6 วันที่นำเสนอ : 15-11-2553 | ความสัมพันธ์ของภาษาจีนกับภาษาของกลุ่มชาติพันธุ์ต่างๆในอีสานใต้ [2554] |
ปีงบ : 2553 สถานที่ : นำเสนอเป็นโปสเตอร์ในการประชุมวิชาการนานาชาติ ที่ College of International Exchange, Shanghai University, 13 – 14 Jan 2010) วันที่นำเสนอ : 13-01-2553 | Metcha Sodsongkrit. (2010) “A Comparative study of general pronouns in Chinese and identifies pronouns in Thai”. [2553] |
เรื่อง |
---|
[ปีงบ : 2567] Veerachat Duangmala วีระชาติ ดวงมาลา กนกพร นุ่มทอง เมชฌ เมธจิรนนท์.(๒๕๖๗). ภาพสะท้อนสังคมจีนที่ปรากฏในประชุมนิทาน “โซวเสินจี้”.มนุษยสังคมสาร, ๒๒(๑), ๑๐๐-๑๔๙ |
[ปีงบ : 2567] เนตรน้ำทิพย์ บุดดาวงศ์ กนกพร นุ่มทอง และเมชฌ เมธจิรนนท์. (2567). อุดมการณ์ชาตินิยมจีนในเพลงแดง. วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. 20(1). 78-105. |
[ปีงบ : 2563] การศึกษาภาษาศาสตร์แขนงจ้วง-ไตกลุ่มภาษาพบใหม่ในประเทศจีน , ศิลปศาสตร์ |
[ปีงบ : 2561] เมชฌ สอดสองกฤษ. (2561) การศึกษาภาษาศาสตร์แขนงต้ง-สุ่ยในประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน.วารสารจีนศึกษา. คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. 11. (1) , 65-113. |
[ปีงบ : 2560] การวิเคราะห์มิติด้านการท่องเที่ยวและการสื่อสารในการปลูกจิตสำนึกรักชาติของรัฐบาลจีน ผ่านบทเพลงปลุกใจ |
[ปีงบ : 2560] เมชฌ สอดสองกฤษ.(2559) การศึกษาภาษาตระกูลมอญ-เขมรในสาธารณรัฐประชาชนจีน.วารสารศิลปศาสตร์. คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ปีที่ 16 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2559) หน้า 113-141. |
[ปีงบ : 2559] เมชฌ สอดสองกฤษ.(2556) ระบบคำสรรพนามของภาษาตระกูลมอญเขมรในประเทศจีน. , The Journal.วารสารคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล.ปีที่9 ฉบับที่1.(วารสารออกเมื่อ มกราคม2559) , 01-01-2559 |
[ปีงบ : 2559] เมชฌ สอดสองกฤษ.(2558) การพรรณนาภาษามู่หล่าวในประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน. , วารสารศาสนาและวัฒนธรรม.วิทยาลัยศาสนศึกษา.มหาวิทยาลัยมหิดล. , 01-06-2558 |
[ปีงบ : 2559] เมชฌ สอดสองกฤษ.(2558) การพรรณนาภาษาสุ่ยในประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน. , วารสารศิลปศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ปีที่ 16 ฉบับ ที่1 (เดือนมกราคม – มิถุนายน 2559) , 01-06-2559 |
[ปีงบ : 2559] เมชฌ สอดสองกฤษ.(2558) การพรรณนาภาษาเหมาหนานในประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน. , วารสารภาษานิดา สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ ปีที่ 20 ฉบับที่ 26 หน้า 24-52 , 01-12-2558 |
[ปีงบ : 2559] เมชฌ สอดสองกฤษ.(2558) ภาษาจ้วง : ภาษาไทในประเทศจีนตามทรรศนะของนักวิชาการจีน. , วารสารกระแสวัฒนธรรม .มหาวิทยาลัยสยาม. ปีที่ 15 ฉบับที่ 28 , 01-06-2558 |
[ปีงบ : 2559] เมชฌ สอดสองกฤษ.(2558) ภาษาไต: ภาษาตระกูลไทในประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน. , วารสารมนุษยศาสตร์ปริทรรศน์.มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ปีที่37 เล่ม 1 (มกราคม – มิถุนายน) หน้า 7-20. , 01-06-2558 |
[ปีงบ : 2559] เมชฌ สอดสองกฤษ.(2559) การพรรณนาภาษาต้งในประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน. , วารสารมนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์. มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ปีที่ 7 ฉบับที่ (1) หน้า.11-45. , 01-06-2559 |
[ปีงบ : 2559] เมชฌ สอดสองกฤษ.(2559) การพรรณนาภาษาหลีในประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน. , วารสารศิลปศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ปีที่ 12 ฉบับที่ 1 หน้า 1-44. , 01-06-2559 |
[ปีงบ : 2559] เมชฌ สอดสองกฤษ.(2559) การพรรณนาภาษาเกอลาวในประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน. , วารสารศาสนาและวัฒนธรรม.วิทยาลัยศาสนศึกษา.มหาวิทยาลัยมหิดล. ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 (มกราคม– มิถุนายน 2559) หน้า 53-82 , 01-06-2559 |
[ปีงบ : 2558] Metcha Sodsongkrit.(2014) “A Brief Discussion on the Correlationship of Thai and Han language and Chinese language Teaching in Thailand. ” , Chinese Teaching in Different Linguistics, Cultural and Policy Contexts. Shanghai : Xuelin Press. , 01-11-2557 |
[ปีงบ : 2558] เมชฌ สอดสองกฤษ.(2558) หว่า : ภาษาตระกูลมอญเขมรในประเทศจีนตามทรรศนะของนักวิชาการจีน , วารสารอารยธรรมโขงสาละวิน.สถานอารยธรรมศึกษาโขง-สาละวิน มหาวิทยาลัยนเรศวร. ปีที่ 6 ฉบับที่ 1 มกราคม – มิถุนายน 2558.หน้า 276-308. , 01-06-2558 |
[ปีงบ : 2558] เมชฌ สอดส่องกฤษ.(2557) ภาษาปู้อี : ภาษาที่ใกล้ชิดกับภาษาไทยในประเทศจีน.วารสารกระแสวัฒนธรรม .มหาวิทยาลัยสายาม. ปีที่ 15 ฉบับที่ 28 กรกฏาคม –ธันวาคม.หน้า 67-76. , วารสารกระแสวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยสายาม. , 01-12-2557 |
[ปีงบ : 2558] เมชฌ สอดส่องกฤษ.(2557) หน่วยคำเติมในภาษาตระกูลมอญเขมรในประเทศจีน .วารสารศาสนาและวัฒนธรรม.วิทยาลัยศาสนศึกษา.มหาวิทยาลัยมหิดล. ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 (ธันวาคม 2557) หน้า 57-73. , วารสารศาสนาและวัฒนธรรม.วิทยาลัยศาสนศึกษา.มหาวิทยาลัยมหิดล. , 31-12-2557 |
[ปีงบ : 2557] Metcha Sodsongkrit (2013 July - December) Findings on Chinese -Thai Linguistics relationships in the Isan dialect of Thai. (บทความภาษาจีน) , MANUTSAT PARITAT; Journal of Humanities.35 (2) 17-26. , 02-12-2556 |
[ปีงบ : 2557] เมชฌ สอดสองกฤษ และ ฉวีวรรณ ว่องเจริญกุล.(2557) ชนกลุ่มน้อยเผ่าไต : พี่น้องเผ่าไทในสิบสองปันนา สาธารณรัฐประชาชนจีน.วารสารกระแสวัฒนธรรม. ปีที่ 15 ฉบับที่ 27. (มกราคม–มิถุนายน 2557) , วารสารกระแสวัฒนธรรม. มหาวิทยาลัยสยาม , 02-06-2546 |
[ปีงบ : 2557] เมชฌ สอดสองกฤษ.(2556) ปู้หล่าง : ภาษาตระกูลมอญเขมรในประเทศจีนตามทรรศนะของนักวิชาการจีน.วารสารศาสนาและวัฒนธรรม.วิทยาลัยศาสนศึกษา.มหาวิทยาลัยมหิดล.ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 (มกราคม – มิถุนายน 2557) , วารสารศาสนาและวัฒนธรรม.วิทยาลัยศาสนศึกษา.มหาวิทยาลัยมหิดล. , 02-06-2546 |
[ปีงบ : 2557] เมชฌ สอดสองกฤษ.(2557) เต๋ออ๋าง : ภาษาตระกูลมอญเขมรในประเทศจีนตามทรรศนะของนักวิชาการจีน. วารสารอารยธรรมโขงสาละวิน.สถานอารยธรรมศึกษาโขง-สาละวิน มหาวิทยาลัยนเรศวร. ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 มกราคม – มิถุนายน 2557 , วารสารอารยธรรมโขงสาละวิน.สถานอารยธรรมศึกษาโขง-สาละวิน มหาวิทยาลัยนเรศวร. , 02-06-2546 |
[ปีงบ : 2557] เมชฌ สอดส่องกฤษ. (2556) ข้อสังเกตเกี่ยวกับความสัมพันธ์ของเสียงพ่นลมในภาษาไทยมาตรฐานและเสียงไม่พ่นลมในภาษาไทยถิ่นเหนือกับคำในภาษาจีน. , หนังสือรวมบทความวิชาการการประชุมทางวิชาการจีนศึกษาระดับนานาชาติ ครั้งที่ 1 เรื่อง " จีนภิวัฒน์ในมิติภาษา วรรณกรรม การสอน และวัฒนธรรมศึกษา " พิมพ์ครั้งที่ 1 จัดโดยคณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ร่วมกับ โครงการปริญญาโท หลักสูตรวัฒนธรรมจีนศึกษา คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และ International College Nanjing Normal University หน้า 124 – 137. , 02-12-2556 |
[ปีงบ : 2556] เมชฌ สอดส่องกฤษ (2555) “ การศึกษาทางภาษาศาสตร์เชิงประวัติศาสตร์เรื่องความสัมพันธ์ของคำเสริมสร้อยสองพยางค์ในภาษาไทยถิ่นอีสานกับภาษาจีน” , วารสารมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร, ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 มกราคม - เมษายน 2555 ,หน้า 9-42.(วารสารออก มกราคม 2556)ยังไม่เคยนำมาคิดคะแนน , 01-06-2556 |
[ปีงบ : 2556] เมชฌ สอดส่องกฤษ. (2556) รายงานการวิจัยเรื่องการสำรวจและวิเคราะห์ชื่อร้านค้าของชาวไทยเชื้อสายจีนในจังหวัดอุบลราชธานี, , วารสารศิลปศาสตร์. คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี,ปีที่ 9 ฉบับที่ 1, หน้า 9 - 41. , 30-06-2556 |
[ปีงบ : 2555] เมชฌ สอดส่องกฤษ “ชนกลุ่มน้อยในปะระเทศสาธารณรัฐประชาชนจีนและสถานภาพการศึกษาในประเทศไทย” วารสารศิลปศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม) 2554 , ศิลปศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ ม.อบ. |
[ปีงบ : 2555] เมชฌ สอดส่องกฤษ. (2554) การศึกษาทางภาษาศาสตร์เชิงประวัติศาสตร์เรื่อง “คำศัพท์ร่วมเชื้อสายไท-จีน ในภาษาไทยถิ่นอีสาน The Journal. Journal of the Faculty of Liberal Arts, Mahidol University. Vol.7No.2 (2010) p.125-149. , The Journal. Journal of the Faculty of Liberal Arts, Mahidol University , 01-12-2554 |
[ปีงบ : 2555] เมชฌ สอดส่องกฤษ. (2554) “ บนผืนแผ่นดินจีนอันกว้างใหญ่ : บทเพลงที่รวมวัฒนธรรมจีนทั้งแผ่นดินไว้ในเพลงเดียว ” วารสารเพลงดนตรี , วิทยาลัย ดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล, ปีที่ 16 ฉบับที่ 12,หน้า 20-24. (วารสารออกเดือน ต.ค. 2554) , วารสารเพลงดนตรี , วิทยาลัย ดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล , 05-10-2554 |
[ปีงบ : 2555] เมชฌ สอดส่องกฤษ. (2554) “ ลำนำมหานทีแยงซี : เพลงเอกประกอบสารคดีขนาดใหญ่ระดับชาติของจีน ” วารสารเพลงดนตรี , วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล, ปีที่ 16 ฉบับที่ 11,หน้า 36-38. (วารสารออกเดือน ก.ย. 2554) , วารสารเพลงดนตรี , วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล , 05-09-2554 |
[ปีงบ : 2554] การศึกษาวิเคราะห์ทางภาษาศาสตร์เชิงประวัติศาสตร์ตระกูลไท-จีนเรื่อง ความสัมพันธ์ของเสียง/h/ ในภาษาไทยถิ่นอีสานกับเสียง /h/ในภาษาจีน , วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 ประจำเดือน ก.ค.- ธ.ค. 2553 , 03-01-2554 |
[ปีงบ : 2554] เพลง นิทานในฤดูใบไม้ผลิ บทเพลงประวัติศาสตร์การปฏิวัติการปกครองของจีน , วารสารเพลงดนตรี , วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล, ปีที่ 16 ฉบับที่ 5,หน้า 18 - 21. (วารสารออกเดือน มี.ค. 2554) , 31-03-2554 |
[ปีงบ : 2554] เพลงประวัติศาสตร์แห่งการคืนสู่มาตุภูมิจีนของดินแดนอาณานิคมทั้งเจ็ด ” , วารสารเพลงดนตรี , วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล, ปีที่ 16 ฉบับที่ 4,หน้า 34 - 36. (วารสารออกเดือน ก.พ. 2554 ได้รับวารสารเดือน มี.ค.ยังไม่เคยนำมาคิดคะแนนในรอบที่ 1) , 25-02-2554 |
[ปีงบ : 2554] เมชฌ สอดส่องกฤษ (2553) การวิเคราะห์ทางภาษาศาสตร์เชิงประวัติศาสตร์เรื่องคำเรียกช้างในภาษากูย”, , วารสารสังคมลุ่มน้ำโขง,ปีที่ 6 ฉบับที่ 2, หน้า 97 - 118 . , 24-01-2554 |
[ปีงบ : 2554] เมชฌ สอดส่องกฤษ (2553) “สภาพและปัญหาการเรียนการสอนภาษาจีนในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของไทย วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี. ปีที่ 4 ฉบับที่ 2 หน้า. , วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี. ปีที่ 4 ฉบับที่ 2 , 24-12-2553 |
[ปีงบ : 2554] เมชฌ สอดส่องกฤษ (2553) " รายการคำศัพท์ภาษาไทยถิ่นอีสานที่คาดว่าจะเป็นคำศัพท์ร่วมเชื้อสาย ตระกูลไท-จีน" , วารสารเอเซียตะวันออกศึกษา. สถาบัน เอเซียตะวันออกศึกษา,มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.ปีที่ 14 ฉบับที่ 2 ,หน้า 124 - 162. , 24-10-2553 |
[ปีงบ : 2554] เมชฌ สอดส่องกฤษ. (2552) “เสียงปฏิภาค /r/,/k/,/kh/ และเสียงปฏิภาคอื่นๆ:หลักฐานความสัมพันธ์ของภาษาจีนกับภาษาไทยในฐานะภาษาร่วมตระกูล , วารสารมนุษยศาสตร์ปริทรรศน์. คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, ปีที่ 31 ประจำภาคเรียนที่ 2 การศึกษา 2552. , 24-12-2553 |
[ปีงบ : 2554] เมชฌ สอดส่องกฤษ. (2553) “ หนิวเจี่ยว,เครื่องเป่าจากเขาวัวของชนกลุ่มน้อยในประเทศจีน ” , วารสารเพลงดนตรี , วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล, ปีที่ 16 ฉบับที่ 1,หน้า 26-29. , 24-12-2553 |
[ปีงบ : 2554] เมชฌ สอดส่องกฤษ. (2553) “ขลุ่ยจีนแบบเป่าแนวขวางและแบบเป่าแนวตั้ง” , วารสารเพลงดนตรี , วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล, ปีที่ 15 ฉบับที่ 11.หน้า 14 – 17. , 24-11-2553 |
[ปีงบ : 2554] เมชฌ สอดส่องกฤษ. (2553) “ซานเสียน พิณสามสายของจีน บรรพบุรุษของซามิเซ็นของญี่ปุ่น” วารสารเพลงดนตรี , วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล, ปีที่ 15 ฉบับที่ 10.หน้า 16 – 19. , วารสารเพลงดนตรี , วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล, ปีที่ 15 ฉบับที่ 10.หน้า 16 – 19. , 03-10-2553 |
[ปีงบ : 2554] เมชฌ สอดส่องกฤษ. (2553) “บรรทัดห้าเส้นที่ยาวที่สุดในโลก: ประติมากรรมทางดนตรีของจีนที่ได้รับบันทึกใน Guinness Book of World Records ” , วารสารเพลงดนตรี , วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล, ปีที่ 16 ฉบับที่ 3,หน้า 26-28. , 03-02-2554 |
[ปีงบ : 2554] เมชฌ สอดส่องกฤษ. (2553) “ลำนำบุตรทั้งเจ็ด : บทเพลงประวัติศาสตร์แห่งการคืนสู่มาตุภูมิจีนของดินแดนอาณานิคมทั้งเจ็ด ” , วารสารเพลงดนตรี , วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล, ปีที่ 16 ฉบับที่ 4,หน้า 34 - 36. , 24-03-2554 |
[ปีงบ : 2554] เมชฌ สอดส่องกฤษ. (2553) “เพลงจีนสำเนียงมองโกล : เพลงยอดเยี่ยมแห่ง Asia Pacific ขององค์การยูเนสโก” , วารสารเพลงดนตรี , วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล, ปีที่ 16 ฉบับที่ 2,หน้า 26-29. , 24-01-2554 |
[ปีงบ : 2554] “ อ้าย หว่อ จงหัว: บทเพลงทรงพลังที่ร้อยใจรักจีนเป็นหนึ่งเดียว , วารสารเพลงดนตรี , วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล, ปีที่ 16 ฉบับที่ 7,หน้า 18-21. (วารสารออกเดือน พฤษภาคม 2554) , 31-05-2554 |
[ปีงบ : 2554] “ฉันรักเธอ ประเทศจีน : เพลงรางวัลชนะเลิศในการประกวดเพลงยอดเยี่ยมระดับชาติครั้งปฐมฤกษ์ของจีน” , วารสารเพลงดนตรี , วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล, ปีที่ 16 ฉบับที่ 10,หน้า 22-25. (วารสารออกเดือน ส.ค. 2554) , 25-08-2554 |
[ปีงบ : 2554] “ถงอี้โส่วเกอ: เวทีคอนเสริตชั้นแนวหน้าของสถานีโทรทัศน์ CCTV ของจีน ” , วารสารเพลงดนตรี , วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล, ปีที่ 16 ฉบับที่ 6,หน้า 20 - 22. (วารสารออกเดือน เม.ย. 2554) , 29-04-2554 |
[ปีงบ : 2554] “ที่ราบสูงชิง-จั้ง :นั่นคือทิเบตแดนสวรรค์ ” วารสารเพลงดนตรี , วารสารเพลงดนตรี , วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล, ปีที่ 16 ฉบับที่ 9,หน้า 22-25. ( วารสารออกเดือน ก.ค.2554) , 29-07-2554 |
[ปีงบ : 2553] เมชฌ สอดส่องกฤษ (2552) “ขลุ่ยน้ำเต้า ภูมิปัญญาชาวไตในสิบสองปันนา” , วารสารเพลงดนตรี , วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล, ปีที่ 15 ฉบับที่4.หน้า 36-40. , 01-12-2552 |
[ปีงบ : 2553] เมชฌ สอดส่องกฤษ (2552) “ผายเซียว เซิง หยวี่ : โหวดและแคนจากแดนมังกร” , วารสารเพลงดนตรี , วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล, ปีที่ 15 ฉบับที่3,หน้า16-19. , 01-11-2552 |
[ปีงบ : 2553] เมชฌ สอดส่องกฤษ (2552) “เพลงระบำเผ่าอี๋ หนึ่งในเพลงทรงกู่เจิงของสมเด็จพระเจ้าลูกเธอเจ้าฟ้าจุฬาภรณ์วลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี” , วารสารเพลงดนตรี , วิทยาลัยดุริยางค ศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล, ปีที่ 15 ฉบับที่2,หน้า 16 – 21. , 01-10-2552 |
[ปีงบ : 2553] เมชฌ สอดส่องกฤษ (2553) "เหลียง-จู้ เพลงรักผีเสื้อ" , วารสารเพลงดนตรี , วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล, ปีที่ 15 ฉบับที่ 6.หน้า 15-17. , 01-02-2553 |
[ปีงบ : 2553] เมชฌ สอดส่องกฤษ (2553) “ขิมหยางฉิน:เปียโนสัญชาติตะวันออก” , วารสารเพลงดนตรี , วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล, ปีที่ 15 ฉบับที่ 5.หน้า 36-39. , 01-01-2553 |
[ปีงบ : 2553] เมชฌ สอดส่องกฤษ (2553) “วิธีการสอนการออกเสียงภาษาไทยที่มีปัญหาสำหรับผู้เรียนชาวจีน”, , วารสารวิชาการรมยสาร. คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์, ปีที่ 7 ฉบับเดือนกรกฎาคม – ธันวาคม, หน้า 66 – 79. , 01-12-2552 |
[ปีงบ : 2553] เมชฌ สอดส่องกฤษ. (2553) “ปาอิน,การแบ่งประเภทเครื่องดนตรีแบบแปดเสียงในสมัยโบราณของจีน” , วารสารเพลงดนตรี , วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล, ปีที่ 15 ฉบับที่ 9.หน้า 16 – 19. , 31-07-2553 |
[ปีงบ : 2553] เมชฌ สอดส่องกฤษ. (2553) “ผีพา พิณจีนสัญชาติอินเดีย” , วารสารเพลงดนตรี , วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล, ปีที่ 15 ฉบับที่ 7.หน้า 20 - 24 , 31-05-2553 |
[ปีงบ : 2553] เมชฌ สอดส่องกฤษ. (2553) “สังข์:ในมุมมองของเครื่องดนตรีโบราณของจีน” , วารสารเพลงดนตรี , วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล, ปีที่ 15 ฉบับที่ 8.หน้า 14 – 17. , 30-06-2553 |
[ปีงบ : 2552] เมชฌ สอดส่องกฤษ (2552) , “ซอมีกี่สาย” วารสารเพลงดนตรี , วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล, , ปีที่ 14 ฉบับที่ 5.มกราคม 2552 |
[ปีงบ : 2552] การศึกษาวิเคราะห์ระบบคำเครือญาติในภาษาจีน , วารสารมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร , ฉบับปีที่ 6 ฉบับที่ 2 (พ.ค - ส.ค.52) |
[ปีงบ : 2552] ซอหัวม้า เสียงเพรียกจากจิตวิญญาณมองโกล , วารสารเพลงดนตรี , วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล, , ฉบับเดือน มีนาคม 2552 |
[ปีงบ : 2552] เมชฌ สอดส่องกฤษ (2552) “ขับลำบรรเลงตำนานเพลงพิณสายเดี่ยว” , วารสารเพลงดนตรี , วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล, หน้า28-34. , ปีที่ 14 ฉบับที่ 8 เมษายน 2552 |
[ปีงบ : 2552] เมชฌ สอดส่องกฤษ (2552) “ซอหัวม้าเสียงเพรียกจากจิตวิญญาณแห่งทุ่งหญ้ามองโกล” , วารสาร เพลงดนตรี , วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล, ปีที่ 14 ฉบับที่ 7. หน้า 42 - 47 , มีนาคม : 2552 |
[ปีงบ : 2552] เมชฌ สอดส่องกฤษ (2552) “อุปมาและสัญลักษณ์ความรักในภาษาจีน” , วารสารจีนศึกษา , คณะ มนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, ปีที่ 2 ฉบับที่ 2. หน้า 141-159 , วารสารออกเดือนกรกฎาคม 2552 |
[ปีงบ : 2552] เมชฌ สอดส่องกฤษ (2552) “เครื่องประกอบจังหวะไม้ในวงดนตรีจีน” , วารสารเพลงดนตรี , วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล, ปีที่ 14 ฉบับที่11. หน้า74 - 79 , กรกฎาคม 2552 |
[ปีงบ : 2552] เมชฌ สอดส่องกฤษ (2552) “เปิดตำนานกลองจีน” วารสารเพลงดนตรี , , วิทยาลัยดุริยางคศิลป์, มหาวิทยาลัยมหิดล, ปีที่ 14 ฉบับที่ 10. หน้า 40-45 , มิถุนายน : 2552 |
[ปีงบ : 2552] เมชฌ สอดส่องกฤษ และ วรรณภา ชำนาญกิจ (2552) “เทียนลู่,บทเพลงแห่งสายใยรักจีนธิเบต” , วารสารเพลงดนตรี , วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล, ปีที่ 14 ฉบับที่12. หน้า14 - 19 , สิงหาคม : 2552 |
[ปีงบ : 2551] "ประวัติดนตรีจีน" , เพลงดนตรี.วารสารวิชาการวิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล, , ปีที่ 13 ฉบับที่ 12,เมษายน 2551. |
[ปีงบ : 2551] จากบทเพลงพื้นเมืองเผ่าอี๋ถึงกุหลาบแดง9999ดอก , วารสารเพลงดนตรี วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล , ตุลาคม 2550 |
[ปีงบ : 2551] ระฆังราวเครื่องดนตรีจีนโบราณที่สูญหายไปนับพันปี , เพลงดนตรี วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล ปีที่ 14 ฉบับที่ 2 , มิถุนายน 2551 |
[ปีงบ : 2551] รายงานการวิจัยเปรียบเทียบการใช้คำเรียกขานในภาษาไทยและภาษาจีนสมัยปุจจุบัน , วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ , มกราคม 2551 |
[ปีงบ : 2550] Acomparison of modern Thai and Chinese address terms usage, Chinese , Chinese Journal of Humanities&Social Sciences. , Vol.4. 2006 |
[ปีงบ : 2550] นาง คำยืมจากภาษาเขมรหรือคำศัพท์ร่วมเชื้อสายไทยจีน, , วารสารสังคมลุ่มน้ำโขง, , ปีที่ 3 ฉบับที่ 1. 2550 |